วันอังคารที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15

วัน อังคาร ที่ 27 กันยายน พ.ศ.2554
ในคาบเรียนนี้อาจารย์พูดถึงความหมายของ
การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
การจัดประสบการณ์
-หลักการจัดประสบการณ์
-การสอนแบบโครงการ
-การจัดนิทรรศการ
-การจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
-การเรียนรู/รับรู้ของเด็ก
-การเขียนแผน
-การประเมิน

วิทยาศาสตร์
-ทักษะวิทยาศาสตร์
-การเขียนแผน

เด็กปฐมวัย
-พัฒนาการ
-ความหมาย
-สื่อวิทยาศาสตร์
-ของเล่นวิทยาศาสต์

แล้วอาจารย์ได้นัดสอบในคาบต่อไป และ จะมีการตรวจบล๊อกในวัน อาทิตย์ ที่ 9 ตุลลาคม พ.ศ.2554

วันอังคารที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14

วัน อังคาร ที่ 20 กันยายน พ.ศ.2554
วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาส่งแผนการสอนที่กลุ่มตนเองรับผิดชอบดิฉันส่งแผนเรีอง ประโยชน์ของไข่ ดังนี้วัตถุประสงค์
-บอกประโยชน์ของไข่ได้
-บอกประเภทของไข่ได้
-สังเกตส่วนประกอบของไข่
ประสบการณ์
-เด็กได้ทราบประโยชน์ของไข่
-เด็กได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
-เด็กได้เล่าประสบการ์ของตนเอง

สาระที่ควรรู้
ประโยชน์ของไข่
-ส่งเสริมสุขภาพ เช่น ได้วิตามินและโปรตีน
-สร้างรายได้ เช่น การนำมาแปรรูป การตกตแต่ง
-ความงาม เช่น ใช้พอกหน้า ใช้บำรุงผม
-ประกอบเป็นอาหาร เช่น ไข่ดาว ไข่ตุ๋น ไข่เจียว ไข่เค็ม ฯลฯ
กิจกรรม
ขั้นนำ
-ครูอ่านคำคล้องจองเกี่ยวกับประโยชน์ของไข่
-ครูและเด็กสนทนาเกี่ยวกับประโยชน์ของไข่
-ใครใช้คำถาม "เด็กๆรู้จักไข่อะไรบ้างค่ะ"
ขั้นสอน
-ครูนำไข่ เช่น ไข่ไก่ ไข่เป็ด ไข่นกทา มาใส่ตระกร้า แล้วนำผ้าปิดไว้
-ขอตัวแทนออกมาสัมผัสแล้วให้ทายว่าเป็นไข่ไร
-เฉลย พร้อมกับถามเด็กๆว่า"เคยเห็นไข่ชนิดนี้ที่ไหน เอามาทำไรได้บ้าง ทราบประโยชน์อย่างไรบ้างค่ะ"
สรุป
-ร่วมกันสรุปแล้วเขียนลงกระดาษแผ่นใหญ่
-อ่านทวนพร้อมกัน
สื่อ
-คำคล้องจอง
-ไข่ไก่ ,ไข่เป็ด,ไข่นกทา
-ตระกร้า
-กระดาษแผ่นใหญ่
-ปากกาเมจิ

วัดประเมินผล
- เด็กสนใจที่จะตอบคำถาม
-เด็กสามารถบอกประโยชน์ของไข่ได้

วันอังคารที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13

วัน อังคาร ที่ 13 กันยายน พ.ศ.2554
สิ่งที่ีอยู่รอบตัว
เรื่องราวเกี่ยวกับเด็ก
บุคคลและสถานที่
ธรรมชาติ
สมรรถณะ
-กาย
-อารมณ์-จิตใจ
-สังคม
-ภาษา
-คณิตศาสตร์
-วิทยาศาสตร์
-คิดสร้างสรรค์
ภาษา
-ฟัง
-พูด
-อ่าน
-เขียน
สาระสำคัญ=>ประสบการณ์สำคัญ
-ตั้งสมมติฐาน
-ทดลอง
-เก็บข้อมูล
-สรุปผล
ทักษะทางวิทยาศาสตร์
-ทดลอง
-แยกแยะ
-จำแนก
-สรุปผล

วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12

วันอังคาร ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2554


สาระสำคัญ
-สิ่งที่อยู่รอบตัว
-ครอบครัว
-ธรรมชาติ
-ชุมชน

อาจารย์ให้ดูวิดีโอเรื่องมหัศจรรย์ของน้ำ
สิ่งต่างๆในโลกล้วนมีน้ำเป็นส่วนประกอบ ร่างกายมนุษย์ 70%ส่วนผลไม้มีถึง 90%ร่างกายคนเราขาดน้ำได้เพียง 3วัน ส่วนพื้นที่ที่เป็นทะเลทรายเช่น อูฐขาดน้ำได้ 10 วัน หลังอูฐมีไขมันไขมันเปลี่ยนเป็นน้ำไปหล่อเลี้ยงร่างกาย น้ำในร่างกายจะช่วยปรับสมดุล ต้นตะบองเพชรก็เช่นเดียวกันต้องกักเก็บน้ำไว้เป็นจำนวนมากเพื่อหล่อเลี้ยง ลำต้นของมันนั่นเอง
สถานะของน้ำจะเปลี่ยนไปตามลำดับ จากของแข็ง =>ของเหลว=>ก๊าซ
ของแข็ง = น้ำแข็ง
ของเหลว =น้ำ
ก๊าซ = ไอน้ำที่ระเหย
น้ำสามารถเปลี่ยนสถานะจากของแข็ง=>ของเหลว=>เป็นไอ=> ของเหลว อีก กลับไปกลับมา

การทดลอง
-ต้มน้ำแข็งเป็นก้อนให้เดือด น้ำแข็งเริ่มละลายการเป็นของเหลว ต้มต่อไป มีไอเกิดขั้น จากนั้นนำจานที่มีนำแข็ง มาวางข้างบนโดยที่มีระยะห่างกันพอสมควร แล้วสังเกตดู ที่ก้นจานมีหยดน้ำมีหยดน้ำเกิดขึ้นเนื่องจากความร้อน เปลี่ยนสถานะ

-การระเหยของนำแต่ละภาชนะ แก้ว และจาน ภายในจานจลดน้อยลงเพราะ น้ำจะระเหยเฉพาะบริเวณผิวหน้าของน้ำ
-โมเลกุลของน้ำมีน้อยกว่าโมเลกุลของน้ำแข็ง
-น้ำแข็ง แล้ววางผ้าพันแผลลงแล้วนำเกลือมาโรยแล้วทำให้น้ำแข็งติดกับผ้าพันแผล
-การกดดันของน้ำ เจาะขวด3รู ในแนวตั้ง แล้วปิดไว้ก่อน แล้วเติมน้ำใส่ให้เต็ม แล้วเปิดรูบนก่อน ตามด้วยรูที่2 ตามด้วยอันดับที่ 3 แต่อันดันที่3 จะแรงกว่า เนื่องจากแรงกดดันของน้ำ จึงทำให้ด้านล่างสุดพุ่งไปได้ไกล
-แรงดันภายในขวด นำรูปปั้นดินน้ำมัน ใส่ลงไปในขวดที่มีน้ำ เมื่อบีบขวดน้ำรูปปั้นดินน้ำมันก็จะจมลง เพราะมีแรงอัด เมื่อปล่อมมือความดันในขวดลดลงตัวรูปปั้นจึงลอยขึ้น
-นำน้ำใส่สายยาง มีแรงที่เท่ากันน้ำจึงอยู่ในระดับเดียวกัน
-นำเข็มวางลงบนผิวน้ำแต่ไม่จม
-นำทิชชู มาม้วนแล้วหย่อนลงในแก้วที่มีนำ แล้วนำปลายทิชชูอีกด้านหนึ่งมาใส่ภาชนะ ที่ไม่มีน้ำ แต่ทิชชูเกิดการดูดซึมน้ำผ่านทิชชู

วันจันทร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11

วัน อังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2554
ในคาบเรียนนี้ดิฉันไม่สบายจึงไม่ได้มาเรียน และได้สอบถามงานจากเพื่อน
คัดลอกจาก ปานวาด บัวชุม


วิทยาศาสตร์สิ่งที่อยู่รอบตัวเราผลิตจากธรรมชาติมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม > ต้นไม้ > ขยะมีผลต่อ สภาพแสดล้อมแกรนทิชชู > การแก้ปัญหาทางทรัพยากร 1.อย่าใช้เยอะ 2.นำกลับมาใช้ใหม่ 3.ประยุคก์ 4.ขาย1.เริ่มโครงการ-หาหัวเรื่อง > ให้เด็กนำเสนอ พูด , เขียน/วาด ชื่อเรื่อง , เลือก / ทำเครื่องหมาย-หนูอยากรู้อะไร >ถาม ตอบ -ทำอย่างไร >สถานที่ คน กิจกรรม-ทบทวนประสบการณ์เดิม2.ปฎิบัติตามแผนงาน3.สรุป > หน้าที่ อธิบาย ต้อนรับ>คน>สถานที่ ในสถานที่ นอกสถานที่

วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10

วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ.2554
ในคาบเรียนนี้อาจารย์พูดถึง วัสดุเหลือใช้แบ่งออกเป็น2 หัวข้อ
1.ภาชนะ
กล่องนม
กล่องยาสีฟัน
กระป๋อง
ลัง
แก้วน้ำ
2.วัสดุ
แกนทิชชู
ผาขวดน้ำ
หลอด
กระดาษ
ปากกา
กิจกรรม -ลงมือกระทำ-->มือ ตา หู ลิ้น จมูก
-ความคิดสร้างสรรค์
-วิธีการ สอดคล้องกับพัฒนาการ มีความหลากหลายที่ตัวกระบวนการสื่อ
-เนื้อหา สอดคล้องกับหน่วย ใกล้ตัว
-ลำดับขั้นตอน
-หลักการจัด
-ทฤษฏีการเรียนรู้ ดิวอี้
-พัฒนา เพียเจร์

1.ประกอบอาหาร
-->ทอด,ปิ้ง,ย้าง,ต้ม


การกำหนดโครงการ ในการเลือกให้ขีดเป็นแต้มแล้วสรุปเป็นตัวเลขให้เห็น
ปลา llll=4
ช้าง l = 1
กล้วย lllll =5
สุนัข lllll = 5
ดอกไม้ lllll lllll lllll =15

ได้ผลสรุปคือ ดอกไม้ =15
ดอกไม้
-วิธีการปลูก
-ส่วนประกอบ
-ชนิด
-สี
-การขยายพันธุ์
-ดอกไม้มีพิษไหม

สถานที่
-สวนดอกไม้
-ร้านดอกไม้
-ร้านขายของที่ระลึก
-ห้องสมุด , อินเทอเน๊ต

บุคคล
-คนสวน
-คนขายของ

เคลื่อนไหวและจังหวะ
-แต่งเพลงเกี่ยวกับดอกไม้
-เคลื่อนไหว

เสริมประสบการณ์
-เชิญ หนังสือขอบคุณ
-ไปดู ทิศทาง ,แผนที่เดินทาง

ศิลปะ
-วาดรูปส่วนประกอบ
-พิมพ์ภาพ
-ประดิษฐ์ดอกไม้
-แต่งนิทานร่วมกัน
-ปั้น
-ประกอบอาหาร

สรุป นำเสนอ
1 .นิทรรศการ
2.เพลง
3.นิทาน
4.แผนที่
5.งานประดิษฐ์
6.ส่วนประกอบ
7.อาหารที่เราทำ
8.เกม



วันอังคารที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 9

วัน อังคาร ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2554
ในคาบเรียนนี้อาจารย์ให้นำงานที่สั่งไว้ในคาบที่ 7 มาส่ง แล้วบอกถึงความเป็นวิทยาศาสตร์ และให้ดูวีดีโอเรื่องความลับเรื่องแสง
สรุปจาการดูวีโอไดดังนี้
-เมื่อฝนตกไฟดับเราไม่สามารถมองเห็นอะไรได้เลยแต่พอไฟติดสายตาเราเกิดฟ่าฟางและแสบตาเพราะปรับสภาพไม่ทันแต่พอหลับตาซักพักแล้วลืมก็
สามารถมองเห็นได้ปกติ
กิจกรรมทดลองที่ 1 มีกล่องสี่เหลี่ยมใบหนึ่งเจาะให้เป็นรูปสี่เหลี่ยม 1 ช่องแล้วนำตุ๊กตาลงในกล่องแล้วค่อยๆปิดฝาจะมองไม่เห็นตุ๊กตา

วัตถุบนโลกเราเมื่อแสงมากระทบแล้วมีคุณสมบัติ ถึง 3 แบบ จะมีคุณสมบัติที่คล้ายกันก็คือ แสงทะลุผ่านได้ ซึ่งทำให้เรามองเห็นวัตถุนั่นได้ เราจะมองเห็นเป็นรูปร่าง เรียกวตถุนั่นว่าวัตถุโปร่งแสง วัตถุโปร่งใส สำหรับวัตถุอีแบบหนึ่งคือ ถูกแสงบางส่วนดึงไปแล้วแสงที่เหลือก็สะท้อนเข้าตา เรา รียกว่า วัตถุทึบแสง ซึ่งวัตถุส่วนใหญ่ที่อยู่บนโลกเรา เช่น อิฐ ไม้ หิน เหล็ก แม้กระทั่งตัวเราก็เป็นวัตถุทึบแสง

-วัตถุโปร่งแสงนั่นสามารถทะลุไปได้เป็นบางส่วนเท่านั้น สามารถมองเห็นสิ่งต่างๆที่อยู่ด้านหลังได้เลือนลาง เช่น กระจกฟ่า

-วัตถุโปร่งใส เป็นวัตถุที่แสงผ่านไปได้หมด ทำให้เรามองเห็นสิ่งต่างๆที่อญุ่ด้านหลังอย่างชัดเจน เช่นกระจกใส หรือ พลาสติกใส


ประโยชน์ของแสง

-แสงเดินทางเป็นเส้นตรงสามารถนำมาสร้างเป็นกล้องฉายภาพแบบต่างๆ


การทดลอง

-กล่องกระดาษ 1 ใบ เจารูตรงกลาง แล้วอีกด้านเป็นจอ ส่องไฟฉายผ่านทำให้เห็นภาพกลับหัว

-ส่องไฟฉายใส่กระจกเงาก็จะสะท้อนกลับมา เมื่อมีการเอียงก็เกิดการหักเหของแสง

-นำกระจกเงาพับเป็นสามเหลี่ยม แล้วส่องจะเกิดหลายภาพเพราะภาพจะสะท้อนหากัน

-กล่องส่องที่ใช้กับเรือดำน้ำ

- การทดลองแม่สีโดยใช้ไฟฉายแม่สี 3 สี น้ำเงิน เหลือง แดง จะเกิดเป็นสีใหม่

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8



วัน อังคาร ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ.2554
ในคาบนี้ไม่มีการเรียนการสอน ตรงกับสัปดาห์การสอบ และทำงานที่อาจารย์มอบหมายในคาบที่แล้ว

วันอังคารที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7




วันอังคารที่ 2 สิงหาคม 2554
ในการเรียนวนนี้อาจารย์ได้ให้ส่งในที่สั่งไว้ในคาบที่แล้วหลังจากนั้นให้ออกมาพรีเซ้นต์งานของตนเองที่มาว่าทำอย่างไรเล่นอย่างไร แล้วเป็นวิทยาศาสตร์ยังไง ส่อนงานของดิฉันอาจารย์บอกว่าให้ทำให้อีก1ลำ และไปหาข้อมูลที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ และได้ให้ถ่ายรูปพร้อมบอกขั้นตอนในการทำของงานตัวเองพร้อมกับรูปถ่ายและวิธีเล่น และส่วนใครที่ยังไม่ทำงาน มีข้อแก้ไข และซ้ะกับเพื่อนในห้องให้ทำมาใหม่ในคาบต่อไปค่ะ
อุปกรณ์
1.โฟม
2.คัตเตอร์
3.หนังยาง
4.ไม้ไอศครีม
5.ภาพประกอบหรือตกแต่งเพิ่ม

ขั้นตอนวิธีการทำ
1.ตัดกระดาษให้เป็นรูปทรงเรือตามที่เราต้องการ
2.ตัวโฟมส่วนที่อยู่ด้านหลัง ให้เป็นเหมือนตัวยู
3.วัดขนาดไม้ไอศครีมให้มีขนาดเล็กกว่าช่องตัวยู
4.นำหนังยางมาคล้องกับสายตัวยูแล้วลองเอาไม้ไอศครีมหมุนว่ามีช่องหรือที่หมุนได้ไหม
5.นำไปทดลองว่าสามารถเล่นได้จริง และตกแต่งเพิ่มเติมามความสนใจ

วันอังคารที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6



วัน อังคาร ที่ 26 กรกฏาคม พ.ศ. 2554
ภายในคาบเรียนนี้อาจารย์ได้ตำหนิถึงการทำงานของนักศึกษาที่ไม่ได้ทำงานที่อาจารญ์สั่งไว้ตอนคาบที่แล้ว อาจารย์ให้ทำตารางใสกระดาษA4แล้วนำมาในคาบหน้าและพูดถึงกิจกรรมในวันพุธ
1.การรณรงค์
2.การทดลอง
3.ทำไปรษณียบัตร
4.จัดบอร์ด
**การบ้าน**
-เขียนโครงการ
-หลักการและเหตุผล
-มีกิจกรรมอะไรบ้าง เช่น ทำบอร์ด มีการทดลอง
-วิธีการดำเนินงาน เช่น จัดสถานที่ บอร์ดให้ความรู้ สถานที่ทดลอง เดินรณรงค์
-กิจกรรมมีสื่ออย่างไร มีขั้นตอนอย่างไร มีวิธีการดำเนินอย่างไร
วัยที่มีความอยากรู้อยากเห็น (เด็กปฐมวัย)
-วัยที่มีการพัฒนาทางสติปัญญาที่สุดของชีวิต
-แสวงหาความรู้และสามารถอก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง จากสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหาเหตุผล แสวงหาความรู้แก้ปัญหาไดตามวัยของเด็กๆ ควรจัดกิจกรรมให้เด็กได้ลงมือกระทำด้วยตนเอง จากสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว
ความหมายทักษะการสังเกต
ทักษะการสังเกต หมายถึงการใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน ได้แก่ หู ตา จมูก ปาก ลิ้น และผิวกาย เข้าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือเหตุการณ์ โดยมีจุดประสงค์ที่จะหาข้อมูลซึ่งเป็นรายละเอียด ดังนี้
1. การสังเกตรูปลักษณะทั่วไป
2.การสังเกตควบคู่กับการวัดปละหาปริมาณ
ความหมายทักษะการจำแนกประเภท
ทักษะการจำแนกประเภท ความสามารถในการแบ่งประเภทสิ่งของโดยหาเกณฑ์
1. ความเหมือน
2.ความแตกต่าง
3.ความสัมพันธ์ร่วม
ความหมายทักษะการวัด
ทักษะการวัด หมายถึง การใช้เครื่องมือ ต่างๆ วัดหาปริมาณของสิ่งที่เราต้องการทราบได้ย่างถูกต้อง โดยมีหน่วยการวัดกำกับ
1.รู้จักสิ่งของที่วัด
2. การเลือกเครื่องมือที่นำมาใช้วัด
3.วิธีการที่เราจะวัด
ความหมายทักษะการสื่อความหมาย
ทักษะการสื่อความหมาย หมายถึง การพูด การเขียน รูปภาพและภาษาท่าทางการแสดงสีหน้า ความสามารถรับข้อมูลได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
1. บรรยายลักษณะคุณสมบัติของวัตถุ
2.บันทึกการเปลี่ยนแปลงของวัตถุได้
3.บอกความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ได้จัดกระทำ
4.จัดกระทำข้อมูลในรูปแบบต่างๆ
ความหมายของทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
การลงความเเห็นข้อมูล หมายถึง การเพิ่มเติมความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่มีอยู่อย่างมีเหตุผลโดยอาศัยความรู้หรือประสบการณ์



วันอังคารที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5



วันอังคาร ที่ 19 กรกฏาคม 2554
ภายในคาบเรียนนี้เป็นการนำเสนองานสำหรับกลุ่มที่ยังไม่รายงานและมีการสรุปกิจกรรมวิทยาศาตร์นำเสนอไปแล้ว มีดังนี้
-การเดินทางของแสง
-ไข่ลอยฟ้า
-ไข่ลอยในน้ำเกลือ
-ขวดเป่าลม
-แรงดันน้ำ
ข้อความรู้
-กิจกรรมวิทยาศาสตร์
-ตัวอย่างสื่อวิทยาศาสตร์
-จิตวิทยาการเรียนรู้
-หลักการจัดประสบการณ์
-ของเล่นวิทยาศาสตร์
-แนวคิดนักการศึกษา
**งานกลุ่ม**
-กิจกรรม
-อุปกรณ์
-ขั้นตอนการจัดกิจกรรม
-*คอนเชป
-ประโยชน์ที่ได้รับ
กระบวนการ
1.ตั้งสมมุติฐาน->ตั้งคำถาม
2.ทดลอง->ลงมือปฏิบัติ->สังเกต->บันทึกผล->สรุปฝลการทดลอง
เด็กเกิดความรู้ และทักษะทางวิทยาศาสตร์
**พรุ่งนี้วันพุธที่20 อาจารย์ให้จัดกิจกรรมที่ใต้ตึกคณะศึกษาศาสตร์เวลา11.00น
จัดโครงการ ลดละเลิกเหล้า บุหรี่และสิ่งเสพติด
-ให้เห็นเหล้า บุหรี่ และสิ่งเสพติด มีโทษอย่างไร มีผลกระทบกับเด็กอย่างไร แล้วจะจัดกิจกรรมเพื่อรณรงค์เพื่ออะไร
และอาจารย์ได้พาร้องเพลงภายในคาบ
มา มา มา พวก เรา มา ลด เลิก เหล้า เบียร์ (ซ้ำ)
บุหรี่และสิ่งเสพติด(ซ้ำ)
เพื่อตัวเราและเพื่อในหลวง

วันอังคารที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4

วัน อังคารที่ 12 กรกฏาคม 2554
ในการเรียนการสอนวันนี้เป็นการนำเสนองานเรื่องกลุ่มแนวคิดนัการศึกษาวิทยาศาสตร์พูดถึงขุ้นปฐมภูมิ คือขั้นที่ไม่มีความรู้และทุติยภูมิ ขั้นที่มีความรู้มาแล้ว และจอนดิวอี้ เน้นให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริงถึงจะเกิดการเรียนรู้ โรเน้นการเรียนรู้เพื่อลดความเบื่อหน่ายโดยอาศํยวิมนาศาสตร์ การสร้างปัญหา การทดลอง การเก็บรวบรวม อาจารย์ยกตัวอย่างเปรียบเทียบเรื่องแมวกับตุ๊กตาแมวของจริงเด็กจะเกิดประสบการณ์ กลุ่มจิตวิทยาเรียนรู้เน้นการเรียนรู้เน้นแรงขับภายใน แรงจูงใจ แรงขับภายนอกและเสริมแรง มีการสาธิตการเล่นกิจกรรมในคาบเรียนเรื่องวิทยาศาสตร์ดังนี้ ขวดเป่าลูกโป่ง และในคาบนั้นกลุ่มของดิฉันได้นำเสนอเรื่องน้ำ โนทำการทดลองเรื่องแรงดันน้ำโดยมีกระดาษ1 แผ่นแล้วปิดแก้วไว้น้ำนังไม่ไหลออก อาจารย์ได้ให้ข้อแนะนำเพิ่มเติมว่าการทดลองให้เด็กดูควรใช้คำถามชักชวนให้เด็กเกิดความสนใจและอยากทามด้วยตนเองแต่ยังไม่ต้องถึงขั้นเปรียบเทียบว่ากระดาษมันกับไม่มันอันไหนดูดซับเร็วกว่ากัน

วันอังคารที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3

วัน อังคาร ที่ กรกฏาคม 2554
ในคาบเรียนนี้อาจาร์ได้ถามถึงสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์และเป็นการนำเสนองานโดยเพื่อนกลุ่มแรกออกไปนำเสนอแล้วอาจารย์ก็บอกว่าพอ แล้วกลุ่มต่อมาก้บอกว่าพอ เรืื่่อยๆๆจนเพื่อนบางกลุ่มนำเสนอกิจกรรมเล่นสี เป่าสี พับสี และพิมพ์ภาพจากธรรมชาติ กลุ่มต่อมาก็ทำกิจกรรมกังหันและกลุ่มดิฉันก็ได้เปลี่ยนความคิดมาจากการที่จะนำเสนอก็นึกว่าอาจารย์ให้ทำกิจกรรมเพราะเพื่อนกลุ่มที่ออกไปรายงานพูดได้ไม่กี่คำอาจารย์ก็ให้หยุดการรายงายแต่ฉันคิดในใจแล้วว่าเป็นเพราะเพื่อนอ่านตามสไลด์อาจารย์ก็เลยไม่ให้นำเสนอแล้วอาจารย์และเพื่อนอีกสองคนก็เปลี่ยนโดยกะทันหันงานก็ออกมาไม่ค่อยดี

วิทยาศาสตร์หมายถึง ความสามารถในการคิดที่ต้องอาศัยกระบวนการทางสติปัญญาและประสบการเดิมของบุคคลมาประกอบกัน เพื่อแก้ปัญหาที่ประสบในสถานะการที่กำหนดมาให้ ซึ่งวัดได้จากแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
*งาน*
-อาจารย์ให้ไปหาว่าสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ตรงกับวันที่เท่าไหร่
-คิดกิจกรรมทดลองทางวิทยาศาสตร์โดยบอกวิธีการ ขั้นตอน อุปกรณ์

วันอังคารที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 2

วัน อังคารที่ 28 มิถุนายน 2554
ในคาบเรียนนี้อาจารย์ได้เปิดเพลงไอน้ำให้ฟังแล้วตั้งคำถาม

ขั้นตอนการจัดการประสบการณ์การสอนมี 3 ขั้น
-ขั้นนำ เพลงจะนำเข้าสู่บทเรียน
-ขั้นสอน ลงมือปฏิบัติ จดบันทึก ทดลอง
-ขั้นสรุป สรุปจากการบันทึก
ความรู้
-ดวงอาทิตย์ส่องแสงลงน้ำทำให้น้ำร้อนและระเหยกลายเป็นไอน้ำ
-ไอน้ำลอยจากที่ต่ำขึ้นสู่ที่สูง
-น้ำเปลี่ยนสภาพกลายเป็นไอน้ำ
เป็นวิทยาศาสตร์
-เห็นการเปลี่ยนแปลง
-อธิบายให้เห็นถึงคุณสมบัติของ ของเหลว
*การบ้าน*
อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม6 กลุ่ม มี 6 เรื่อง
-จิตวิทยาการเรียนรู้
-แนวคิดนักการศึกษา
-หลักการการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
-กิจกรรมวิทยาศาสตร์
-หาของเล่นที่เด็กทำเอง
-หาตัวอย่างสื่อวิทยาสาสตร์

วันอังคารที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1

วันอังคารที่ 21 มิถุนายน 2554
ในคาบเรียนี้เป็นคาบแรกอาจารย์ได้พูดถึงข้อตกลงตามรายวิชา และพูดถึงแนวการสอนและอธิบายถึงความหมายของรายวิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
การจัดการคือ การวางแผนการออกแบบเพื่อให้เกิดประสาทสัมผัสทั้ง5เพื่อเกิดการเรียนรู้
ประสบการณ์คือ การรับรู้ไปสู่การเรียนรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้เกิดทั้งบวกและลบ
วิทยาศาสตร์ คือ สิ่งที่อยู่รอบๆตัวมีการเปลี่ยนแปลง เพราะเกิดจากการสังเกต> ทดลอง >ตั้งสมมุตติฐาน >บันทึก>สรุปและเอาผลไปใช้ในชีวิตประจำวัน
เด็กปฐมวัย คือ เด็กอายุ0-6ปี ชอบเลียนแบ ชอบสังเกต ชอบความแปลกใหม่ ต้องการความรักความอบอุ่น

*งาน*
อาจารย์พูดถึงเรื่องการสร้างBloggerว่าให้สร้างบล็อกโดยมีองค์ประกอบของการสร้างบล็อก
-ชื่อและคำบรรยายบล็อก
-รูปและข้อมูลของผู้เรียน
-ปฏิทินและนาฬิกา
-เชื่อมโยงบล็อกอาจารย์ผู้สอน,งานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์,บทความ,สื่อ(เพลง,นิทาน,เกม,แบบฝึกหัด)
-แนวทางการเขียนอนุทินเพื่อบันทึกหลังการเรียน