วันอังคารที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15

วัน อังคาร ที่ 27 กันยายน พ.ศ.2554
ในคาบเรียนนี้อาจารย์พูดถึงความหมายของ
การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
การจัดประสบการณ์
-หลักการจัดประสบการณ์
-การสอนแบบโครงการ
-การจัดนิทรรศการ
-การจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
-การเรียนรู/รับรู้ของเด็ก
-การเขียนแผน
-การประเมิน

วิทยาศาสตร์
-ทักษะวิทยาศาสตร์
-การเขียนแผน

เด็กปฐมวัย
-พัฒนาการ
-ความหมาย
-สื่อวิทยาศาสตร์
-ของเล่นวิทยาศาสต์

แล้วอาจารย์ได้นัดสอบในคาบต่อไป และ จะมีการตรวจบล๊อกในวัน อาทิตย์ ที่ 9 ตุลลาคม พ.ศ.2554

วันอังคารที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14

วัน อังคาร ที่ 20 กันยายน พ.ศ.2554
วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาส่งแผนการสอนที่กลุ่มตนเองรับผิดชอบดิฉันส่งแผนเรีอง ประโยชน์ของไข่ ดังนี้วัตถุประสงค์
-บอกประโยชน์ของไข่ได้
-บอกประเภทของไข่ได้
-สังเกตส่วนประกอบของไข่
ประสบการณ์
-เด็กได้ทราบประโยชน์ของไข่
-เด็กได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
-เด็กได้เล่าประสบการ์ของตนเอง

สาระที่ควรรู้
ประโยชน์ของไข่
-ส่งเสริมสุขภาพ เช่น ได้วิตามินและโปรตีน
-สร้างรายได้ เช่น การนำมาแปรรูป การตกตแต่ง
-ความงาม เช่น ใช้พอกหน้า ใช้บำรุงผม
-ประกอบเป็นอาหาร เช่น ไข่ดาว ไข่ตุ๋น ไข่เจียว ไข่เค็ม ฯลฯ
กิจกรรม
ขั้นนำ
-ครูอ่านคำคล้องจองเกี่ยวกับประโยชน์ของไข่
-ครูและเด็กสนทนาเกี่ยวกับประโยชน์ของไข่
-ใครใช้คำถาม "เด็กๆรู้จักไข่อะไรบ้างค่ะ"
ขั้นสอน
-ครูนำไข่ เช่น ไข่ไก่ ไข่เป็ด ไข่นกทา มาใส่ตระกร้า แล้วนำผ้าปิดไว้
-ขอตัวแทนออกมาสัมผัสแล้วให้ทายว่าเป็นไข่ไร
-เฉลย พร้อมกับถามเด็กๆว่า"เคยเห็นไข่ชนิดนี้ที่ไหน เอามาทำไรได้บ้าง ทราบประโยชน์อย่างไรบ้างค่ะ"
สรุป
-ร่วมกันสรุปแล้วเขียนลงกระดาษแผ่นใหญ่
-อ่านทวนพร้อมกัน
สื่อ
-คำคล้องจอง
-ไข่ไก่ ,ไข่เป็ด,ไข่นกทา
-ตระกร้า
-กระดาษแผ่นใหญ่
-ปากกาเมจิ

วัดประเมินผล
- เด็กสนใจที่จะตอบคำถาม
-เด็กสามารถบอกประโยชน์ของไข่ได้

วันอังคารที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13

วัน อังคาร ที่ 13 กันยายน พ.ศ.2554
สิ่งที่ีอยู่รอบตัว
เรื่องราวเกี่ยวกับเด็ก
บุคคลและสถานที่
ธรรมชาติ
สมรรถณะ
-กาย
-อารมณ์-จิตใจ
-สังคม
-ภาษา
-คณิตศาสตร์
-วิทยาศาสตร์
-คิดสร้างสรรค์
ภาษา
-ฟัง
-พูด
-อ่าน
-เขียน
สาระสำคัญ=>ประสบการณ์สำคัญ
-ตั้งสมมติฐาน
-ทดลอง
-เก็บข้อมูล
-สรุปผล
ทักษะทางวิทยาศาสตร์
-ทดลอง
-แยกแยะ
-จำแนก
-สรุปผล

วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12

วันอังคาร ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2554


สาระสำคัญ
-สิ่งที่อยู่รอบตัว
-ครอบครัว
-ธรรมชาติ
-ชุมชน

อาจารย์ให้ดูวิดีโอเรื่องมหัศจรรย์ของน้ำ
สิ่งต่างๆในโลกล้วนมีน้ำเป็นส่วนประกอบ ร่างกายมนุษย์ 70%ส่วนผลไม้มีถึง 90%ร่างกายคนเราขาดน้ำได้เพียง 3วัน ส่วนพื้นที่ที่เป็นทะเลทรายเช่น อูฐขาดน้ำได้ 10 วัน หลังอูฐมีไขมันไขมันเปลี่ยนเป็นน้ำไปหล่อเลี้ยงร่างกาย น้ำในร่างกายจะช่วยปรับสมดุล ต้นตะบองเพชรก็เช่นเดียวกันต้องกักเก็บน้ำไว้เป็นจำนวนมากเพื่อหล่อเลี้ยง ลำต้นของมันนั่นเอง
สถานะของน้ำจะเปลี่ยนไปตามลำดับ จากของแข็ง =>ของเหลว=>ก๊าซ
ของแข็ง = น้ำแข็ง
ของเหลว =น้ำ
ก๊าซ = ไอน้ำที่ระเหย
น้ำสามารถเปลี่ยนสถานะจากของแข็ง=>ของเหลว=>เป็นไอ=> ของเหลว อีก กลับไปกลับมา

การทดลอง
-ต้มน้ำแข็งเป็นก้อนให้เดือด น้ำแข็งเริ่มละลายการเป็นของเหลว ต้มต่อไป มีไอเกิดขั้น จากนั้นนำจานที่มีนำแข็ง มาวางข้างบนโดยที่มีระยะห่างกันพอสมควร แล้วสังเกตดู ที่ก้นจานมีหยดน้ำมีหยดน้ำเกิดขึ้นเนื่องจากความร้อน เปลี่ยนสถานะ

-การระเหยของนำแต่ละภาชนะ แก้ว และจาน ภายในจานจลดน้อยลงเพราะ น้ำจะระเหยเฉพาะบริเวณผิวหน้าของน้ำ
-โมเลกุลของน้ำมีน้อยกว่าโมเลกุลของน้ำแข็ง
-น้ำแข็ง แล้ววางผ้าพันแผลลงแล้วนำเกลือมาโรยแล้วทำให้น้ำแข็งติดกับผ้าพันแผล
-การกดดันของน้ำ เจาะขวด3รู ในแนวตั้ง แล้วปิดไว้ก่อน แล้วเติมน้ำใส่ให้เต็ม แล้วเปิดรูบนก่อน ตามด้วยรูที่2 ตามด้วยอันดับที่ 3 แต่อันดันที่3 จะแรงกว่า เนื่องจากแรงกดดันของน้ำ จึงทำให้ด้านล่างสุดพุ่งไปได้ไกล
-แรงดันภายในขวด นำรูปปั้นดินน้ำมัน ใส่ลงไปในขวดที่มีน้ำ เมื่อบีบขวดน้ำรูปปั้นดินน้ำมันก็จะจมลง เพราะมีแรงอัด เมื่อปล่อมมือความดันในขวดลดลงตัวรูปปั้นจึงลอยขึ้น
-นำน้ำใส่สายยาง มีแรงที่เท่ากันน้ำจึงอยู่ในระดับเดียวกัน
-นำเข็มวางลงบนผิวน้ำแต่ไม่จม
-นำทิชชู มาม้วนแล้วหย่อนลงในแก้วที่มีนำ แล้วนำปลายทิชชูอีกด้านหนึ่งมาใส่ภาชนะ ที่ไม่มีน้ำ แต่ทิชชูเกิดการดูดซึมน้ำผ่านทิชชู